หน้าเว็บ

วันพฤหัสบดีที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

16.ข้อจำกัดในการวิจัย(Limitation)/ขอบเขตการทำวิจัย


http://webcache.googleusercontent.com/search?q=cache:_Gj5CxV19NEJ :www.gotoknow .org/posts/399983+&cd=1&hl=th&ct=clnk&gl=th ได้กล่าวและสรุปไว้ว่า การเขียนขอบเขตการวิจัย  เนื่องจากการทำวิจัยในแต่ละเรื่องเราไม่สามารถที่จะศึกษาได้ครอบคลุมในทุกประเด็น  การกำหนดขอบเขตของการวิจัย  จะทำให้งานวิจัยมีความชัดเจน  และเป็นไปตามวัตถุประสงค์การวิจัยที่ได้กำหนดเอาไว้  ซึ่งในส่วนของขอบเขตการวิจัยนั้น  จะประกอบด้วย                              1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งผู้วิจัยต้องระบุว่าประชากรเป็นใคร  ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างจำนวนเท่าไร   และกลุ่มตัวอย่างได้มาโดยวิธีใด                                                                                                                         2.  ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา ผู้วิจัยต้องระบุตัวแปรอิสระและตัวแปรตามที่ใช้ในการศึกษาทั้งหมดในงานวิจัยบางเรื่องอาจจะระบุขอบเขตด้านเนื้อหาเข้าไปด้วย เพื่อให้มองเห็นของเขตในการวิจัยได้มากขึ้น    การเขียนขอบเขตการวิจัยนี้  ผู้วิจัยจะต้องครอบคลุมว่าจะศึกษาตัวแปรอะไรบ้าง  ซึ่งควรสอดคล้องกับกรอบความคิดของการวิจัย ( Research  framework )  ควรมีการระบุเหตุผลที่เรานำเอาตัวแปรเหล่านั้นเข้ามาศึกษา  ในกรอบความคิด  ไม่ควรระบุแต่ชื่อตัวแปรที่ศึกษาว่าคืออะไรเท่านั้น  แต่ต้องขยายความให้เห็นแนวคิดเบื้องหลัง  เพื่อให้ผู้อ่านรายงานการวิจัยเข้าใจวิธีคิดหรือทฤษฎีที่ผู้วิจัยใช้เป็นฐานในการกำหนดกรอบแนวคิด      
     ส่วนขอบเขตประชากรนั้น  ผู้วิจัยต้องอธิบายว่ากลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้องจริง  แล้วครอบคลุมคนกลุ่มใด   ทำไมเราจึงสนใจที่จะศึกษาเฉพาะกลุ่มเท่านั้น

http://webcache.googleusercontent.com/search?q=cache:WEIWI9QQ16YJ :www.oknation.net/blog/manrit/2007/09/30/entry-1+&cd=5&hl=th&ct=clnk&gl=th ได้กล่าวและสรุปไว้ว่า ขอบเขตในการวิจัย ประกอบด้วย
1. ขอบเขตการวิจัยที่ต้องกำหนด
  1.1 ประชากรที่ใช้ในการวิจัย
      ก. ลักษณะของประชากร
      ข. จำนวนประชากร (ถ้าหาได้)
    1.2 กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัย
      ก. ขนาดของกลุ่มเป้าหมาย
      ข. วิธีเลือกกลุ่มเป้าหมาย
   1.3  ตัวแปรที่ศึกษา
     1.3.1  ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) คือ ตัวแปรที่เป็นเหตุ
     1.3.2 ตัวแปรตาม (Dependent Variable) คือ ตัวแปรที่เป็นผล
  2. ขอบเขตเพิ่มเติม (กรณีงานวิจัยเชิงทดลอง)
    ก. ขอบเขตของเนื้อหาที่ใช้ในการทดลอง
    ข. ระยะเวลาที่ใช้ในการทดลอง

        http://webcache.googleusercontent.com/search?q=cache:Vb-BpUk6Pz8J:m15 a4ca.multiply.com/journal/item/11+&cd=5&hl=th&ct=clnk&gl=th ได้กล่าวและสรุปไว้ว่า ข้อจำกัดของการวิจัยทางการศึกษา
     1. ความซับซ้อนของเนื้อหาหรือปัญหาที่จะศึกษา
     2. ความยากในการรวบรวมข้อมูล
     3. ความยากในการทำซ้ำ
     4. ปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักวิจัยและสมาชิกในกลุ่มตัวอย่าง หรือกลุ่มประชากรมีผลกระทบต่อผลการวิจัย
    5. ความยากในการควบคุมตัวแปรเกิน
    6. เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลทางการศึกษา มีความแม่นยำและเชื่อถือได้ น้อยกว่าเครื่องมือที่ใช้ในการทดลองทางวิทยาศาสตร์

สรุป
      เนื่องจากการทำวิจัยในแต่ละเรื่องเราไม่สามารถที่จะศึกษาได้ครอบคลุมในทุกประเด็น  การกำหนดขอบเขตของการวิจัย  จะทำให้งานวิจัยมีความชัดเจน  และเป็นไปตามวัตถุประสงค์การวิจัยที่ได้กำหนดเอาไว้  ซึ่งในส่วนของขอบเขตการวิจัยนั้น  จะประกอบด้วย             
 1. ขอบเขตการวิจัยที่ต้องกำหนด
  1.1 ประชากรที่ใช้ในการวิจัย
      ก. ลักษณะของประชากร
      ข. จำนวนประชากร (ถ้าหาได้)
    1.2 กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัย
      ก. ขนาดของกลุ่มเป้าหมาย
      ข. วิธีเลือกกลุ่มเป้าหมาย
   1.3  ตัวแปรที่ศึกษา
     1.3.1  ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) คือ ตัวแปรที่เป็นเหตุ
     1.3.2 ตัวแปรตาม (Dependent Variable) คือ ตัวแปรที่เป็นผล
  2. ขอบเขตเพิ่มเติม (กรณีงานวิจัยเชิงทดลอง)
    ก. ขอบเขตของเนื้อหาที่ใช้ในการทดลอง
    ข. ระยะเวลาที่ใช้ในการทดลอง

อ้างอิง
       http://webcache.googleusercontent.com /search?q=cache:_Gj5CxV19NEJ: www.gotoknow.org/posts/399983 +&cd=1 &hl=th &ct=clnk&gl=th .เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2555.
       http://webcache.googleusercontent.com/search?q=cache: WEIWI9 QQ16YJ :www.oknation.net/blog/manrit/2007/09/30/entry-1+&cd=5&hl=th&ct =clnk & gl=th .เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2555.
       http://webcache.googleusercontent.com/search?q=cache :Vb-BpUk6Pz8J: m15a4ca. multipl y.com/journal/ item/11+&cd=5 &hl=th&ct=cl nk&gl=th .เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2555.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น