หน้าเว็บ

วันพฤหัสบดีที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

18.อุปสรรคที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการวิจัยและมาตรการในการแก้ไข


         http://cai.md.chula.ac.th/lesson/research/re12.htm ได้รวบรวมและกล่าวไว้ว่า อุปสรรคที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการวิจัยและมาตรการในการแก้ไข การทำวิจัย ต้องพยายามหลักเลี่ยงอคติ และความคลาดเคลื่อน ที่อาจจะเกิดขึ้น จากการวิจัยนั้น ให้มากที่สุด เพื่อให้ผลการวิจัย ใกล้เคียงกับความเป็นจริง โดยใช้รูปแบบการวิจัย, ระเบียบวิธีวิจัย และสถิติที่หมาะสม แต่ในสภาพความเป็นจริงแล้ว อาจมีข้อจำกัดต่าง ๆ เกิดขึ้น ดังนั้น การคำนึงเฉพาะ ความถูกต้องอย่างเดียว อาจไม่สามารถ ทำการวิจัยได้ กรณีดังกล่าว นักวิจัย อาจจำเป็นต้องมี การปรับแผนบางอย่าง เพื่อให้สามารถปฏิบัติได้ แต่สิ่งสำคัญก็คือ ผู้วิจัย ต้องตระหนัก หรือรู้ถึงขีดข้อจำกัด ดังกล่าวนั้น และมีการระบุ ไว้ในโครงร่าง การวิจัยด้วย ไม่ใช่แกล้งทำเป็นว่า ไม่มีข้อจำกัดเลย จากนั้น จึงคิดหามาตรการในการแก้ไข อุปสรรคดังกล่าว อย่างไรก็ตาม อย่าให้ "ความเป็นไปได้" (feasibility) มาทำลาย ความถูกต้อง เสียหมด เพราะจะส่งผลให้ งานวิจัยเชื่อถือไม่ได้

          http://webcache.googleusercontent.com/search?q=cache:L-VKB59W-1oJ :cptd.chandra.ac.th/%255Cselfstud%255Cresearch%255Cmjob9.htm+&cd=1&hl=th&ct=clnk&gl=th ได้รวบรวมและกล่าวไว้ว่า  อุปสรรคของการวิจัยดำเนินงาน   ถึงแม้ว่าการวิจัยดำเนินงานจะมีประโยชน์ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับงานต่างๆได้มากมายก็ตาม แต่ก็มีอุปสรรคเช่นเดียวกับวิทยาการด้านอื่นๆ เมื่อจะนำไปประยุกต์ใช้งาน อุปสรรคของงานการวิจัยดำเนินงานเป็นไปในรูปแบบที่ว่า บุคคลที่มีบทบาทในวิชาชีพดังกล่าวมักต้องมีส่วนเกี่ยวข้องกับบุคคลที่ไม่รู้และไม่ยอมรับหลักการที่เสนอให้ ตลอดจนต้องเกี่ยวข้องไปถึงความเข้าใจของเขาด้วย การไม่ยอมรับรู้อาจจะมีสาเหตุจากความไม่เข้าใจในวิธีการ หรือการไม่เห็นผลของการใช้วิธีการของการวิจัยดำเนินงานไปใช้ ทั้งนี้เป็นเพราะว่า การวิจัยดำเนินงานมีลักษณะที่ต้องใช้เวลาในการศึกษาปัญหาและหาวิธีการแก้ปัญหาจนกว่าจะแก้ปัญหานั้นได้ ซึ่งจะต้องใช้เวลาและยากที่จะควบคุมการดำเนินงานและประเมินผลงานนั้นๆ การที่ผู้ดำเนินการขาดความรู้ที่แท้จริงในปัญหาก็เป็นสาเหตุของความล้มเหลวของงานด้วยนอกจากนี้การขาดคุณสมบัติในการประชาสัมพันธ์ทำให้ขาดการรับรู้ต่อผลลัพธ์ที่ดี โดยวิธีการนี้ความล้มเหลวของประชาสัมพันธ์จะเกิดขึ้นจากลักษณะของรายงานที่ทำขึ้น ซึ่งมักอยู่ในรูปแบบการวิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์ และเหมาะสำหรับผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจในปัญหานั้นจริงๆเท่านั้น

         ภิรมย์ กมลรัตนกุล(2542:8) ได้รวบรวมและกล่าวไว้ว่า การทำวิจัย ต้องพยายามหลีกเลี่ยงอคติ และความคลาดเคลื่อน ที่อาจจะเกิดขึ้น จากการวิจัยนั้น ให้มากที่สุด เพื่อให้ผลการวิจัย ใกล้เคียงกับความเป็นจริง โดยใช้รูปแบบการวิจัย, ระเบียบวิธีวิจัย และสถิติที่เหมาะสม แต่ในสภาพความเป็นจริงแล้ว อาจมีข้อจำกัดต่าง ๆ เกิดขึ้น ดังนั้น การคำนึงเฉพาะ ความถูกต้องอย่างเดียว อาจไม่สามารถ ทำการวิจัยได้

สรุป
         อุปสรรคที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการวิจัยและมาตรการในการแก้ไข การทำวิจัย ต้องพยายามหลักเลี่ยงอคติ และความคลาดเคลื่อน ที่อาจจะเกิดขึ้น จากการวิจัยนั้น ให้มากที่สุด เพื่อให้ผลการวิจัย ใกล้เคียงกับความเป็นจริง โดยใช้รูปแบบการวิจัย, ระเบียบวิธีวิจัย และสถิติที่หมาะสม แต่ในสภาพความเป็นจริงแล้ว อาจมีข้อจำกัดต่าง ๆ เกิดขึ้น ดังนั้น การคำนึงเฉพาะ ความถูกต้องอย่างเดียว อาจไม่สามารถ ทำการวิจัยได้ กรณีดังกล่าว นักวิจัย อาจจำเป็นต้องมี การปรับแผนบางอย่าง เพื่อให้สามารถปฏิบัติได้ แต่สิ่งสำคัญก็คือ ผู้วิจัย ต้องตระหนัก หรือรู้ถึงขีดข้อจำกัด ดังกล่าวนั้น และมีการระบุ ไว้ในโครงร่าง การวิจัยด้วย ไม่ใช่แกล้งทำเป็นว่า ไม่มีข้อจำกัดเลย จากนั้น จึงคิดหามาตรการในการแก้ไข อุปสรรคดังกล่าว อย่างไรก็ตาม อย่าให้ "ความเป็นไปได้" (feasibility) มาทำลาย ความถูกต้อง เสียหมด เพราะจะส่งผลให้ งานวิจัยเชื่อถือไม่ได้

อ้างอิง
       http://cai.md.chula.ac.th /lesson/research/re12.htm.เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 30ธันวาคม 2555.
       http://webcache.googleusercontent.com/search?q=cache :L-VKB59W-1oJ:cptd. chandra.ac.th/%255Cselfstud%255Cresearch%255Cmjob9.htm +&cd=1&hl=th&ct =clnk&gl=th.เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2555.
        ภิรมย์ กมลรัตนกุล.(2542).หลักเบื้องต้นในการทำวิจัย. กรุงเทพมหานคร : เท็กซ์แอนด์เจอร์นัลพับลิเคชั่น จำกัด.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น